วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ตอนศึกกะหมังกุหนิง

 อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา  เอกสารที่เ

เรื่องมหาชติหรือมหาเวสสันดร

 เรื่องมหาชติหรือมหาเวสสันดร



 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เรื่องมหาชาติ หรือ มหาเวสสันดร

พุทธศาสนิกชนชาวไทยนับถือกันมาแต่ครั้งโบราณว่า มหาเวศสันดรเป็นชาดกที่สำคัญกว่าชาดกเรื่องอื่น เพราะว่าด้วยเรื่องราวที่ปรากฏบารมีของพระโพธิสัตว์อยู่โดยบนิบูรณ์ทั้ง ๑๐ บารมี
นอกจากนี้ยังมีผู้นำมหาเวสสันดรชาดกไปแต่งเป็นภาษาไทยอีกหลายสำนวน และใช้คำประ

มงคลสูตรคำฉันท์

มงคลสูตรคำฉันท์

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ มงคลสูตรคำฉันท์
  เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่6 ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด คือกาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 ทรงนำคาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้ง

นิราศนริทร์คำโคลง

นิราศนริทร์คำโคลง


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นิราศนรินทร์คำโคลง



นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา

นิทานเวตาล(เรื่องที่10)


 นิทานเวตาล(เรื่องที่10)



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นิทาน เวตาล

 นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ
                  ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแ

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี


ชาวนา3


 บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุคร

หัวใจชายหนุ่ม

หัวใจชายหนุ่ม


รัชกาลที่ 6


พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ (สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี) ทรงพระราชสมภพเมื่อ วันเสาร์ที่ 1 มกราคม พ.ศ.2423 


ลักษณะคำประพันธ์ กลอนบทละคร

ลักษณะคำประพันธ์  กลอนบทละคร

 กลอนบทละคร


กลอนบทละคร  มีลักษณะบังคับเหมือนกลอนสุภาพ แต่มักมีคำขึ้นต้นบทด้วยคำว่า “เมื่อนั้น” “บัดนั้น” และ “มาจะกล่าวบทไป”  โดยคำว่า เมื่อนั้น” ใช้เมื่อขึ้นต้นกับตัวละครที่สำคัญ เช่นตัวเอกหรือกษัตริย์   “บัดนั้น ”  ใช้ขึ้นต้นตัวละครที่เป็นตัวรอง เช่นเสนา อำมาตย์หรือตัวละครธรรมดา   

อ่านเพิ่มเติมที่https://kingkarnk288.wordpress.com/2015/08/15/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2/

อิเหนา

อิเหนา

อิเหนา

 อิเหนามีมาตั้งแต่ตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีเรื่องเล่ากันว่าพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศกับเจ้าฟ้าสังวาล  คือ  เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎได้ฟังนิทานปันหยีหรือเรื่องอิเหนาจากนางกำนัลชาวมลายูที่ได้มาจากเมืองปัตตานี พระราชธิดาทั้งสองพระองค์

อ่านเพิ่มเติมที่https://kingkarnk288.wordpress.com/2015/08/15/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2/

ลักษณะคำประพันธ์

ลักษณะคำประพันธ์ 

อินทรวิเชียรฉันท์ 11 เป็นฉันท์ที่นำมาแต่งคำนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจริยคุณ มีลักษณะบังคับ ดังแผนผังต่อไปนี้


indharavichien11 (1)

อ่านเพิ่มเติมที่https://kingkarnk288.wordpress.com/2014/06/11/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%84/?preview=true&preview_id=20&preview_nonce=2635e565d2&post_format=standard

บทนมัสการคุณานุคุณ

บทนมัสการคุณานุคุณ
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บทนมัสการคุณานุคุณ

  คำนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) ซึ่งเป็นนักปราชญ์คนสำคัญของไทยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้รอบรู้ในวิชาภาษาไทยและได้ชื่อว่าเป็นข้าราชการที่จงรั

อ่านเพิ่มเติมที่https://kingkarnk288.wordpress.com/2014/06/11/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%84/?preview=true&preview_id=20&preview_nonce=2635e565d2&post_format=standard